กลับไปหน้า เกร็ดน่ารู้

ทำยังไงถึงจะได้ แป้งชูครีม ที่ฟูกรอบ และไส้ชูเนียน ให้เป็นเนื้อเดียวกัน?

สวัสดีแฟนเพจ #RichWhippingCreamTH ทุกคน วันนี้มีเทคนิคดีๆ เกี่ยวกับการทำชูครีม แป้งชูครีม มาฝากกันครับ พร้อมแล้วอ่านด้านล่างโลด 

      1. เทคนิคการอบชูครีม
      2. วิธีการเช็คแป้ง
      3. การตีไส้ชูให้เนียน

อบชูครีมให้ไม่ให้แป้งยุบทำอย่างไร?

แป้งชูครีมที่ฟูกรอบ เกิดจากอุณหภูมิและระยะเวลาอบส่งผลให้ตัวแป้งเซ็ตตัวดี ซึ่งประกอบด้วยเทคนิคสำคัญ 3 ข้อ

  • ใช้อุณหภูมิสูงในการอบ (ประมาณ 200 องศาเซลเซียส) เพื่อช่วยให้แป้งดันตัวขึ้นมาเป็นทรงกลม (ไม่ยุบตัว)
  • ห้าม! เปิดเตาเด็ดขาด ในระหว่างการอบ เพราะชูจะยุบตัวทันที

วิธีเช็คว่าแป้งสุกหรือยัง?

เช็คแป้งสุกในขั้นตอนผัดแป้ง : เมื่อผัดไปสักพัก แป้งจะร่อนออกจากหม้อเป็นก้อนๆ และจะมีเนื้อฟิล์มขาวๆ ติดอยู่ตรงหม้อ

เช็คแป้งสุกในขั้นตอนอบชู : ดูความพองของชูและสีของแป้งที่จะออกน้ำตาลอ่อน

ทำอย่างไรให้ได้ไส้ชูครีมที่เนียนละเอียด?

การกรองส่วนผสม ต้องกรองส่วนผสมทุกชนิดก่อนการกวนไส้ เพื่อไม่ให้วัตถุดิบจับตัวเป็นก้อน

การกวนไส้ :
กวนครีมคัสตาร์ดให้ทั่ว ให้สุกพอดีและไม่สุกจนเกินไป สังเกตจากเนื้อครีมจะนุ่ม ไม่เป็นเม็ดหรือเป็นลิ่ม

หมายเหตุ : หลังจากการกวนไส้สามารถกรองครีมคัสตาร์ดด้วยกระชอนอีกรอบ ก่อนนำมาผสมกับวิปปิ้งครีม เพื่อความเนียนกว่าเดิม

เทคนิคพร้อมแล้ว มาลงมือทำเลยดีกว่า ดูสูตร คลิก

ผลิตภัณฑ์ ริช วิปปิ้งครีม มีจำหน่ายที่ร้านอุปกรณ์เบเกอรี่ทั่วประเทศ

หรือช่องทางออนไลน์ >> คลิกสั่งซื้อ

และ SHOPEE >> คลิกสั่งซื้อ

ดาวน์โหลดบทความ
ภาพรวมความเป็นส่วนตัวและสิทธิ์ของคุณ

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้เราสามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุดแก่คุณได้ ข้อมูลคุกกี้จะถูกเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณและทำหน้าที่ต่างๆเช่นจดจำคุณได้เมื่อคุณกลับมาที่เว็บไซต์ของเราและช่วยให้ทีมของเราเข้าใจว่าส่วนใดของเว็บไซต์ที่คุณคิดว่าน่าสนใจและมีประโยชน์มากที่สุด

สิทธิที่จะได้รับแจ้ง
สิทธิในการได้รับแจ้ง [มาตรา 23] เป็นสิทธิสำหรับพลเมืองไทยที่จะได้รับแจ้งเกี่ยวกับการรวบรวมและการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของพวกเขาในขณะที่ทำการรวบรวม องค์กรที่รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้ข้อมูลแก่บุคคลเกี่ยวกับสิ่งที่กำลังติดตามวัตถุประสงค์ของการติดตามและบุคคลที่จะแบ่งปันข้อมูลด้วย

สิทธิ์ในการเข้าถึง
สิทธิ์ในการเข้าถึง [มาตรา 30] หรือที่เรียกว่าการเข้าถึงหัวเรื่องทำให้แต่ละบุคคลมีสิทธิที่จะได้รับสำเนาข้อมูลที่องค์กรเก็บไว้ เมื่อองค์กรได้รับคำขอเรื่องจะต้องให้ข้อมูลเจ้าของข้อมูลเช่นวัตถุประสงค์ของการประมวลผลและประเภทของข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวม

สิทธิในการแก้ไข
ตามมาตรา 35 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิ์ที่จะขอให้แก้ไขข้อมูลของตนรวมถึงการแก้ไขข้อผิดพลาดและการอัปเดตข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์

สิทธิ์ในการลบ
ภายใต้มาตรา 33 ของ PDPA บุคคลมีสิทธิที่จะลบข้อมูลส่วนบุคคลของตน อนุญาตให้ใช้เฉพาะในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดหรือหากผู้ควบคุมข้อมูลไม่จำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์ของการรวบรวมหรือใช้งานอีกต่อไป

สิทธิ์ในการ จำกัด การประมวลผล
มาตรา 34 ของ PDPA ให้สิทธิบุคคลในการ จำกัด การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตน หากผู้บริโภคใช้สิทธิ์นี้ธุรกิจสามารถจัดเก็บข้อมูลต่อไปได้ แต่ต้องไม่ใช้หรือประมวลผลข้อมูลนั้น

สิทธิ์ในการพกพาข้อมูล
สิทธิ์ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลทำให้บุคคลมีสิทธิ์ในการรับและถ่ายโอนข้อมูลไปยังตัวควบคุมหรือบริการอื่น

สิทธิ์ในวัตถุ
มาตรา 32 ของ PDPA ให้สิทธิ์แก่แต่ละบุคคลในการคัดค้านการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตนเมื่อเข้าชมเว็บไซต์ของคุณและมีตัวเลือกให้ใช้ได้เสมอ